หน่วยที่ ๔

ชนิดของระบบปฏิบัติการ สามารถจำแนกตามการใช้งานออก 3 ชนิดด้วยกัน คือ
1.ประเภทใช้งานเดียว (Single-tasking) ระบบปฏิบัติงานประเภทนี้จะกำหนดให้คอมพิวเตอร์ใช้งานได้ครั้งละหนึ่งงานเท่านั้น ใช้ในเครื่องขนาดเล็กอย่างไมโครคอมพิวเตอร์ เช่น ระบบปฏิบัติการดอสเป็นต้น
2.ประเภทใช้หลายงาน (Multi-tasking) ระบบปฏิบัติการประเภทนี้สามารถควบคุมการทำงานพร้อมกันหลายงานในขณะเดียวกัน ผู้ใช้สามารถทำงานกับซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้หลายชนิดในเวลาเดียวกัน Windows 98 ขึ้นไป และUNIX เป็นต้น
3.ประเภทใช้งานหลายคน (Multi-user) ในหน่วยงานบางแห่งอาจใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทำหน้าที่ประมวลผล ทำให้ในขณะใดขณะหนึ่งมีผู้ใช้คอมพิวเตอร์พร้อมกันหลายคน แต่ละคนจะมีสถานีงานของตนเองเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ จึงต้องใช้ระบบปฏิบัติการที่มีความสามารถสูง เพื่อให้ผู้ใช้ทุกคนสามารถทำงานเสร็จในเวลา เช่น ระบบปฏิบัติการ Windows NT และ UNIX เป็นต้น
2.ตัวแปลภาษา
   การพัฒนาซอฟแวร์ต้องอาสัยซอฟแวร์ที่ให้ในการแปลภาษาระดับสูงเพื่อแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง
   ภาษาระดับสูงมีหลายภาษาซึ่งสร้างขึ้นเพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมเขียนชุดคำสั่งได้ง่าย เข้าใจได้ และเพื่อให้สามารถปรับปรุงแก้ไขซอฟแวร์ในภายหลังได้
   ภาษาระดับสูงที่พัฒนาขึ้นทุกภาษาต้องมีตัวแปลภาษา
ซึ่งภาษาระดับสูงได้แก่ ภาษาBasic ,Pascal ,C และภาษาโลโก้ เป็นต้น
   นอกจากนี้ ยังมีภาษษคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันอีกมากได้แก่ Fortran ,Cobol, และภาษาอาร์พีจี
ซอฟต์แวร์ประยุกต์
2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
(Application Software)
  ซอฟต์แวร์ที่ใช้ทำงานร่วมกับคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ทำงานเฉพาะด้าน เช่น การจัดพิมพ์รายงาน การนำเสนองาน การจัดทำบัญชี การตกแต่งภาพ หรือการออกแบบเว็บไซต์ เป็นต้น
ประเภทของซอฟแวร์ประยุกต์
แบ่งตามลักษณะการผลิต จำแนกได้ 2 ประเภท คือ
1. ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ (proprietary software)
2. ซอฟแวร์ที่หาชื้อได้ทั่วไป (Packaged software) มีทั้งโปรแกรมเฉพาะ และโปแกรมมาตรฐาน
ประเภทของซอฟแวร์ประยุกต์
 แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน จำแนกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้
1. กลุ่มการใช้งานทางธุรกิจ (Business)
2. กลุ่มการใช้งานด้ารกราฟฟิกและมัลติมีเดีย (Graphic and Multimedia)
3. กลุ่มการใช้งานบนเว็บ (Wed and communications)
กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ
ซอฟแวร์กลุ่มนี้ถูกนำมาใช้โดยมุ่งหวังให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น การจัดพิมพ์รายงานเอกสาร นำเสนองานและการบันทึกนัดหมายต่างๆ ตัวอย่าง เช่น
โปรแกรมประมวลคำ อาทิ Microsoft Word ,son staroffice Writer
โปรแกรม ตารางคำนวณ อาทิ Microsoft Exce ,sun son staroffice cals
โปรแกรมนำเสนองาน อาทิ Microsoft Powerpoin
กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟฟิก และมัลติมีเดีย
ซอฟแวร์กลุ่มนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อช่วยการจัดการด้านงานกราฟฟิกและมัลติมิเดีย เพื่อให้งานง่ายขึ้น เช่น ใช้ตกแต่งงาน วาดรูป ปรับเสียง ตัดต่อ ภาพเครื่อนไหว และการสร้างและการออกแบบเว็บไซต์ ตัวอย่างเช่น
โปรแกรมออกแบบ อาทิ Microsoft Visioprofessional
โปรแกรมตกแต่งภาพ อาทิ CoreLDRAW,Adobe photoshop
โปรแกรมตัดต่อวีดีโอและเสียง อาทิ Adobe  premiere , pinnacle studio DV
โปแกรมสร้างสือมัลติเมียเดีย อาทิ Adobe Authorware , Toolbook Insttructor, Adobe Director
โปรแกรมสร้างเว็บ อาทิ Adobe Flash , Adobe Dreamweaver
กลุ่มการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสือสาร
เมื่อเกิดการโตของเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซอฟแวร์กลุ่มนี้ได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานเฉพาะเพิ่มมากขึ้น เช่น โปรแกรมการตรวจเซ็คอีเมลการท่องเว็บไซต์ การจัดการดูแลเว็บ และการส่งข้อความติดต่อสื่อสาร การประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย ตัวอย่างโปรแกรมในกลุ่มนี้ได้แก่
โปแกรมจักการอีเมล อาทิ Microsoft Outlook
โปรแกรมท่องเว็บ อาทิ Microsoft Internet Explorer
โปแกรมประชุมทางไกล อาทิ Microsoft Netmeeting
โปรแกรมส่งข้อความด่วน (Instant Messsaging) อาทิ MSN Messenger
โปรแกรมสนทนาบนอินเทอร์เน็ต อาทิ PIRCH , MIRCH
ความจำเป็นของการใช้ซอฟแวร์
การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีความยุ่งยากมากเพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอัษร เป็นประโยค ข้อความ ภาษษในลักษณะดังกล่าวนี้เรียกว่าภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง ภาษาระดัยสูงมีอยู่มากมายบางภาษามีความเหมาะสมกับการใช้สั่งงานการคำนาณทางคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ บางภาษามีความเหมาะสมไว้ใช้สั่งงานทางด้านจัดการข้อมูล
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
เมื่อมนุษย์ต้องการช่วยในการทำงารนมนุษย์จะต้องบอกขั้นตอนวิธีการให้คอมพิวเตอร์ทราบการที่บอกสิ่งที่มนุษย์เข้าใจให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และทำงานได้อย่างถูกต้อง จำเป็นต้องมีสื่อกลาง
ถ้าเปรียบเทียบกัยชีวิตประจำวันแล้วเรามีภาษาที่ใชในการติดต่อซึ่งกันและกัน เช่นเดียวกันถ้ามนุษย์ต้องการจะถ่ายทอดความต้องการให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และปฏิบัตฺตามจะต้องมีสื่อกลางสำหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้เราเรียกสื่อกลางนี้ว่าภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุกต์ด้วย
ภาษาเครื่อง
เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยสัญญษณทางไฟฟ้าใช้แทนด้วยตัวเลข 0 และ 1 ได้ ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์ใช้ตัวเลข 0 และ 1 นี้เป็นรหัสแทนคำสั่งในการสั่งงานคอมพิวเตอร์รหัสแทนข้อมูลและคำสั่งโดยใช้ระบบเลขฐานสองนี้ คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ เราเรียกเลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดคำสั่งและใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ว่าภาษาเครื่อง
การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันทีแต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบอื่นที่เป็นตัวอักษร
ภาษาแอสเซมบลี Assembl  Languages
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 2 ถัดจากภาษาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลีช่วยลดความยุ่งยากลงในการเขียนโปรแกรมเพื่อติดต่อกับคอมพิวเตอร์
แต่อย่างไรก็ตามภาษาแอสเซมบลีก็ยังมีความใกล้เคียงภาษาเครืองอยู่มาก และจำเป็นต้องใช้ตัวแปลภาษาที่เรียกว่าแอสเซมเบลอร์(Assembler)เพื่อแปลชุดภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง
ภาษาระดับสูง
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 3 เริ่มมีการใช้ชุดคำสั่งที่เรียกว่า Statements ที่มีลักษณะเป็นประโยคภาษาอังกฤษ ทำให้ผู้ที่เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจชุดคำสั่งเพื่องสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานง่ายขึ้น ผู้คนทั่วไปสามารถเรียนรู้และเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เนื่องจากภาษาระดับสุงใกล้เคียงภาษามนุษย์ ด้วยตัวแปลระดับสูงเพื่อเป็นภาษาเครื่องมีอยู่ 2 ชนิด ด้วยกัน คือ
คอมไพเลอร์ (Compile) และ อิเทอร์พรีเตอร์ Interpreter
คอมไพเลอร์ จะทำการแปลภาษาที่เขียนเป็นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องก่อนแล้วจึงให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามภาษาเครื่องนั้น
อินเทอร์พรีเตอร์ จะทำการแปลที่ละคำสั่ง แล้วให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามคำสั่งนั้น เมื่อทำเสร็จแล้วจึงมาทำการแปลคำลำดับต่อไป ข้อแตกต่างระหว่างคอมไพเลอร์กับอินเทอร์พรีเตอร์จึงอยู่ที่การแปลทั้งโปรแกรมหรือแปลที่ละคำสั่ง